เราได้ยินมาเสมอว่า การทำงานร่วมกันเป็นทีมนั้นสำคัญมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์กรใด ก็ต้องการสร้าง sense of team เพื่อกระตุ้นให้เกิดความเป็นเจ้าของ
ความสมัครสมานสามัคคี และร่วมกันผลักดันองค์กรไปข้างหน้า แต่คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า กลุ่มคนที่กำลังร่วมงานกันนี้ คือ “ทีม” ที่แท้จริง เรามักได้ยินคำ 2 คำที่มี
ความหมายใกล้เคียงกัน คือ การทำงานเป็นกลุ่ม (Working Group) และ ทีม (Team) คำสองคำนี้ดูผิวเผินแล้วมีความคล้ายคลึงกัน หรือเรามักคิดว่ามันคือสิ่งเดียวกัน เราอาจไม่เคยตั้งคำถาม หรือไม่เคยรู้สึกว่ามันต่างกัน แต่หากลงรายละเอียดแล้วสองคำนี้มลักษณะที่แตกต่างกันจากงานวิจัยเรื่อง “วินัยของทีม” (The Discipline of Teams) ของ Jon R. Katzenbach และ Douglas K. Smith โดย Harvard Business School กล่าวถึงความแตกต่างของ 2 คำนี้อย่างน่าสนใจ โดยบอกว่าคนทั่วไปมักใช้คำว่า “ทีม” จนชิน และนำไปใช้กับการทำงานร่วมกันมากกว่า 1 คน ในทุกๆกรณี โดยคำว่า “ทีม” ในงานวิจัยของ 2 ท่านนี้ คือ ทีมที่สร้างผลงานร่วมกัน มีแรงจูงใจร่วมกัน ไม่ใช่เพียงการรวมตัวกัน
แบบอิสระไร้กฎเกณฑ์ บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเขียนหนังสือเรื่อง “The Wisdom of Teams” ที่ผู้เขียนวิเคราะห์มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างหลายร้อยคน จากมากกว่า 50 ทีม จาก 30 องค์กรด้วยกัน ไล่มาตั้งแต่ บริษัทยักษ์ใหญ่ในอดีตอย่าง Motorola และ HP จนกระทั่งกลุ่มขนาดเล็กอย่างกลุ่มเนตรนารี เพื่อวิเคราะห์ และเฟ้นหาความแตกต่างดังกล่าว
คือ การทำงานโดยมีสมาชิกมากกว่า 1 คน รวมตัวเพื่อทำงานร่วมกันอาจมีการวางระบบการทำงาน หรือไม่มีก็ได้ พบเห็นได้บ่อยในองค์กรขนาดใหญ่ ส่วนมากมักมีเป้าหมายเหมือนกัน โดยอาจมี หรือไม่มีการกำหนดทิศทางชัดเจน สมาชิกใน Working group ทุกคนสามารถขับเคลื่อนงานของตนได้อย่างอิสระ ตามความถนัด และความสามารถของตน โดยมากเป็นการแชร์ ข้อมูล มุมมอง ซึ่งกันและกัน เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการตัดสินใจนั้นส่งผลให้แต่ละคนทำงานในส่วนของตนได้ดียิ่งขึ้น จึงเป็นเหมือนการผลักดัน (กลายๆ / ไปโดยปริยาย) ให้แต่ละคนมีมาตรฐานที่ดีขึ้น สมาชิกใน Working group จะไม่มีส่วนในการรับผิดชอบงานที่คนอื่นได้รับมอบหมาย สมาชิกเพียงแต่รับผิดชอบส่วนที่ตนเองทำเท่านั้น
คือการทำงานที่มีสมาชิกมากกว่า 1 คน รวมตัวเพื่อทำงานร่วมกัน มีการกำหนดเป้าหมายร่วมกันอย่างชัดเจน มีการวางแผนงาน การวางระบบการทำงานที่ดี มีแรงผลักดันร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย มีการร่วมมือกัน ช่วยเหลือกัน ส่งเสริมกัน ตลอดจนมีการประเมินผล และแก้ไขปัญหาร่วมกัน และส่งมอบผลงานที่เสร็จสิ้นร่วมกัน ทีมจะเน้นการทำงานร่วมกัน ที่เป็นมากกว่าการแชร์ข้อมูล หรือมุมมอง ทีมจะร่วมกันสร้างผลงานนั้นๆ ผ่านการร่วมมือกันของสมาชิกทุกคน ผลงานจึงมักจะเป็นผลงานที่มักมีประสิทธิภาพมากกว่าการนำงานหลายๆส่วนมารวมกัน
The essence of a team is common commitment.Without it, groups perform as individuals; with it,they become a powerful unit of collective performance.
หัวใจหลักของ “ทีม” คือ “พันธสัญญาร่วมกัน”และด้วยฉันทามตินี้ ทีม คือ กลุ่มอันทรงพลังที่สามารถสร้างผลงานร่วมกัน
Jon R. Katzenbach and Douglas K. Smith (1993). The Discipline of Teams, published by Harvard Business Review Press
เมื่อรู้ถึงความแตกต่างแล้ว ทำให้เราเองกลับมานั่งคิดว่า
แผนก หรือส่วนงานที่เราทำอยู่ปัจจุบัน จริงๆ แล้ว คือ Working group หรือ Team กันแน่ ?
เราได้กลับมานั่งวิเคราะห์หรือไม่ว่า ที่เราใช้คำว่า “ทีม” นั้น ถูกต้อง หรือไม่?
เรียบเรียง สรุป และวิเคราะห์จาก Jon R. Katzenbach and Douglas K. Smith (1993). The Discipline of Teams, published by Harvard Business Review Press
Pingback: where to buy cheap generic viagra
Pingback: online casino u s a player
Pingback: sildenafil 100 mg tablet
Pingback: cialis buy online
Pingback: non prescription cialis 10mg cheapest price
Pingback: sildenafil citrate ip 100 mg
Pingback: meritking
Pingback: elexusbet
Pingback: madridnet
Pingback: meritking
Pingback: meritroyalbet
Pingback: eurocasino
Pingback: meritroyalbet
Pingback: real vegas casino codes
Pingback: meritroyalbet
Pingback: eioy mg184391 graces band male enhancement pills tadalafil
Pingback: male and female viagra tablets
Pingback: eurocasino
Pingback: madridbet
Pingback: trcasino
Pingback: elexusbet
Pingback: trcasino
Pingback: tombala siteleri
Pingback: tombala siteleri
Pingback: tombala siteleri
Pingback: meritroyalbet
Pingback: meritroyalbet
Pingback: Top ทีม คือ Update - Pilgrimjournalist.com
Pingback: A片